ป๊อก เผย นาทีตรวจเจอเนื้องอกในสมอง ต้องผ่าตัดด่วน
ป๊อก เผย นาทีตรวจเจอเนื้องอกในสมอง ต้องผ่าตัดด่วน
ทำเอาหลายคนตกใจไม่น้อย หลัง ป๊อก-ภัสสรกรณ์ จิราธิวัฒน์ สามีของ มาร์กี้ ราศรี ได้ออกมาเปิดเผยว่าเหตุที่ต้องเข้าโรงพยาบาล เนื่องจากตรวจเจอเนื้องอกในสมองขนาดเท่าลูกเทนนิสและต้องได้รับการผ่าตัดอย่างเร่งด่วน
โดย ป๊อก ได้เปิดใจผ่าน รายการ ป๊อกกี้ on the run SS4 ถึงเรื่องราวหลังมีภาพของการนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาล พร้อมกับบอกว่าเข้ารับการผ่าตัดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายนที่ผ่านมา
"เป็นเรื่องที่ช็อกสำหรับครอบครัว ไม่เคยนึกเลยว่าจะเกิดขึ้นเราเร็วขนาดนี้ ก่อนหน้านี้ผมมีอาการปวดหัว พยายามหาคำตอบกับสิ่งนี้มาเป็นระยะเวลากว่าหนึ่งเดือน ไปหาหมอมาหลายที่มาก หูอื้อพร้อมกันสองข้าง ก็ไปหาหมอหูตาคอจมูก ตอนนั้นผลทุกอย่างเป็นปกติ แต่อาการเริ่มหนักขึ้นเรื่อยๆ...
“RSV”ไวรัสตัวร้าย ป้องกันได้ถ้าไม่อยากให้ลูกป่วย (RespiratorySyncytial Virus)
“RSV” ไวรัสตัวร้าย ป้องกันได้ถ้าไม่อยากให้ลูกป่วย (Respiratory Syncytial Virus)
สำหรับคนเป็นพ่อเป็นแม่ ลูกคือแก้วตาดวงใจ เมื่อลูกมีอาการไม่สบายแม้เพียงเล็กน้อยก็ทำให้กังวลใจคิด ไปต่างๆ นานา แต่ถ้าเราทำความรู้จักและเข้าใจโรคให้มากขึ้น รู้อาการ รู้แนวทางป้องกันรักษาก็น่าจะทำให้คลาย ความกังวลลงได้
บทความตอนนี้ พญ.สิริรักษ์ กาญจนธีระพงค์ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคภูมิแพ้และ ภูมิคุ้มกัน วิทยา โรงพยาบาลนวเวช จึงได้นำความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจที่มัก เกิดกับเด็กเล็กมา ให้คุณพ่อคุณแม่ได้รู้จัก ซึ่งหลายคนก็อาจสับสนระหว่าง RSV ไข้หวัดใหญ่ และไข้หวัดธรรมดา คุณหมอก็เลยมี ข้อมูลมาให้เปรียบเทียบด้วยว่าแต่ละโรคมีความแตกต่างกันอย่างไร
RSV เชื้อไวรัสระบบทางเดินหายใจในเด็ก
เชื้อไวรัส RSV สามารถติดต่อกันผ่านสารคัดหลั่ง น้ำมูก...
ริดสีดวงทวาร อันตรายช่วง Work from home
ริดสีดวงทวาร อันตรายช่วง Work from home
รู้ไหมว่า พฤติกรรมยอดฮิตหลายอย่างของชาวออฟฟิศช่วง Work from home อาจทำให้เสี่ยงโรคริดสีดวงทวาร ไม่ว่าจะเป็นนั่งทำงานนานติดต่อกันหลายชั่วโมง งานไม่เสร็จไม่ยอมลุก ไม่มีเวลาสำหรับการออกกำลังกาย มีความเครียดสูง อาจส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อการเป็นริดสีดวงทวาร
รวมไปถึงชอบทานแต่เนื้อสัตว์ที่ย่อยยาก กากใยไฟเบอร์น้อย ไม่ค่อยได้ทานผักผลไม้ ดื่มน้ำน้อย หรือดื่มชากาแฟแทนน้ำเปล่า จนทำให้ท้องผูกหรือเบ่งถ่ายบ่อย ล้วนแต่เพิ่มความเสี่ยงที่เส้นเลือดดำทวารหนักหรือส่วนปลายสุดของลำไส้ใหญ่เกิดอาการพองหรือยืดตัว มีอาการยื่นนูนเป็นติ่งออกมาจากทวารหนัก กลายเป็นริดสีดวงทวารหนักนั่นเอง
แม้ริดสีดวงจะไม่ใช่โรคร้ายแรงแต่ก็อาจลดทอนความสุขในการทำงาน และอาจเสี่ยงริดสีดวงแตกได้...
รังสียูวีก็ทำร้ายผิวได้ แม้จะเวิร์คฟอรมโฮม (WFH)
เมื่อชีวิตประจำวันของคนส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ตั้งแต่ตื่นเช้าจนถึงเข้านอนวนลูบไปมากับ “การอยู่บ้าน และ เวิร์คฟอรมโฮม” เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้การเดินทางไปที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะการทำงานนอกบ้านลดน้อยลง หลาย ๆ คนอาจจะรู้สึกโล่งใจ เพราะไม่ต้องผจญกับปัญหาแสงแดดที่ทำร้ายผิว แต่รู้หรือไม่ค่ะว่าถึงแม้ทำงานอยู่ที่บ้านแต่รังสียูวีจากแสงแดดก็ยังตามมาทำร้ายจนถึงในบ้านได้
ความจริงแล้ว แม้ว่าเราจะอยู่ในบ้านหรืออาคารที่มีหลังคาและกำแพงบดบังแสงแดด รังสียูวีจากแสงแดดโดยเฉพาะรังสียูวีเอ (UVA) ที่มีมากตลอดทั้งวัน สามารถทะลุผ่านกระจกเข้ามาในบ้านและทำร้ายผิวได้ ตั้งแต่เกิดการกระตุ้นเม็ดสีเมลานินให้ทำงานมากเกินไปจนทำให้ผิวหน้าหมองคล้ำและเกิดจุดด่างดำขึ้น นอกจากนี้รังสียูวียังทำลายโครงสร้างผิวชั้นลึกและเส้นใยคอลลาเจน ทำให้ความยืดหยุ่นของผิวเสียไป เกิดริ้วรอยและความหย่อนคล้อยของใบหน้า ท้ายที่สุดยังทำให้เกิดสารอนุมูลอิสระทำลายเซลล์ผิว ทำให้ผิวแก่ก่อนวัย ยิ่งเราชะล่าใจว่าไม่ได้ออกไปไหน ยิ่งขาดการสร้างเกราะป้องกันผิวโดยเฉพาะการทาครีมกันแดด อีกทั้งการทำงานที่บ้าน...
มะเร็งตับ ดับชีวิตคนไทย 73 รายต่อวัน พุ่งสูงกว่าโควิด 26 เท่า/ปี แพทย์วอนทุกภาคส่วนปลดล็อกมาตรฐานการรักษาผู้ป่วย
ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 เป็นวิกฤตสุขภาพที่ผู้คนทั่วโลกรวมถึงชาวไทยตื่นกลัวและให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องด้วยตัวเลขผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้นทุกวัน ทว่าอีกหนึ่งวิกฤตสุขภาพที่ ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อชีวิตคนไทยและเศรษฐกิจของประเทศมานานอย่างต่อเนื่อง คือ โรคมะเร็งตับ ซึ่งถือเป็นปัญหาสุขภาพระดับชาติที่คร่าชีวิตชายไทยเป็นอันดับ 1 และหญิงไทยเป็นอันดับ 2 อีกทั้ง ประเทศไทยยังติดอันดับ 5 ของโลกที่พบผู้ป่วยมะเร็งตับสูงสุด โดยมีอัตราของการพบผู้ป่วยมะเร็งตับอยู่ที่ 21 รายต่อประชากร 100,000 คน
จากความร้ายแรงของวิกฤตสุขภาพทั้งสองโรค เมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะพบว่า ตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา (1 มิถุนายน 2563 - 1 มิถุนายน 2564) ตัวเลขผู้ติดเชื้อใหม่จากไวรัสโควิด-19 อยู่ที่ 156,370 ราย และมีตัวเลขผู้เสียชีวิตที่ 1,012 ราย ในขณะที่ปี 2563 เพียงปีเดียว พบว่าตัวเลขผู้ป่วยมะเร็งตับรายใหม่อยู่ที่ 27,394 ราย แต่ทว่าตัวเลขผู้เสียชีวิตจากมะเร็งตับกลับอยู่ที่ 26,704 คน หรือคิดเป็น 73 คนต่อวัน โดยเฉลี่ย ซึ่งนับได้ว่าสูงกว่าโควิด-19 ถึง 26 เท่าตัว ทั้งนี้...
4 อาการเตือน ภาวะหัวใจขาดเลือด
4 อาการเตือน ภาวะหัวใจขาดเลือด
รู้ไว ปลอดภัยกว่า โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ หรือ โรคหลอดเลือดหัวใจเกิดจากการไหลเวียนเลือดไปสู่หัวใจที่น้อยลง
ทำให้เลือดหล่อเลี้ยงหัวใจได้ไม่เพียงพอซึ่งอาจนำไปสู่ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดโดยทั่วไป มักจะปรากฏอาการเตือน 4 อย่างนี้
- เจ็บหน้าอก แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
- อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เหนื่อยง่าย
- ใจสั่น (อาจมีอาการเหงื่อแตกร่วมด้วย)
- วูบ หมดสติ หัวใจหยุดเต้น
ทั้งนี้ อาการเหล่านี้
เป็นเพียงแนวทางในการสังเกตเบื้องต้นเท่านั้น
ไม่ได้แปลว่า ถ้ามีอาการเหล่านี้ จะต้องเป็น
โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ หรือโรคหลอดเลือดหัวใจ
สำหรับผู้ที่ไม่แน่ใจ...
ทำความรู้จัก โรคประจำถิ่น
Endemic (โรคประจำถิ่น) คือ โรคที่เกิดขึ้นประจำในพื้นที่นั้น กล่าวคือมีอัตราป่วยคงที่และสามารถคาดการณ์ได้ โดยขอบเขตของพื้นที่อาจเป็นเมือง ประเทศ หรือใหญ่กว่านั้นอย่างกลุ่มประเทศ หรือทวีป เช่น ไข้เลือดออกในประเทศไทย โรคมาลาเรียในทวีปแอฟริกา
โรคประจำถิ่นในประเทศใดว่าต้องพิจารณาจากปัจจัยดังนี้
1) เชื้อลดความรุนแรง (ปัจจุบันความรุนแรง อัตราป่วยตายโรคโควิด 19 ลดลงเหลือ เสียชีวิต ~ 1 ราย จากผู้ติดเชื้อ 1,000 ราย)
2)...
โรคที่มากับอากาศร้อนมีอะไรบ้าง
อากาศที่ร้อนขึ้นทำให้โรคที่มากับอากาศร้อนที่เราไม่ควรมองข้ามกันนั้น มีอะไรบ้าง วันนี้ Bkkhealthcare จะมาแนะนำว่ามีโรคใดบ้างที่มากับอากาศร้อนกันค่ะ
ในอากาศร้อนหรือสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ๆ อาจเกิดหลายโรคหรือสภาวะที่เกี่ยวข้อง ดังนี้:
โรคลมร้อน (Heatstroke): เกิดจากอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนระบบควบคุมอุณหภูมิร่างกายล้มเหลว อาการของโรคลมร้อน ได้แก่ อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย สับสน ชัก หรือหมดสติ
โรคลมชัก (Heat cramps): เกิดจากการสูญเสียน้ำและเกลือแร่ในร่างกายจากการเหงื่อออกมาก ทำให้กล้ามเนื้อเกิดข้อเข่างอ...
ปานโอตะ คืออะไร
"ปานโอตะ" (Ota Nevus) หรือที่รู้จักในชื่อ "ปานสีน้ำตาลหรือดำบนผิวหนัง" เป็นหนึ่งในรูปแบบของปานที่มักพบบนผิวหนังของบุคคลที่มีเชื้อสายเอเชียหรือแอฟริกัน ปานโอตะมักปรากฏในรูปแบบของจุดหรือเป็นบริเวณที่มีสีเข้มกว่าสีผิวปกติ และมักพบบริเวณใบหน้าหรือส่วนอื่นๆ ของร่างกาย
ลักษณะของปานโอตะ:
สี: โดยทั่วไปจะมีสีน้ำตาลอ่อนไปจนถึงน้ำตาลเข้มหรือดำ
ตำแหน่ง: มักปรากฏบนใบหน้า โดยเฉพาะบริเวณแก้ม หน้าผาก หรือรอบดวงตา แต่อาจพบได้ที่ส่วนอื่นของร่างกาย
ขนาดและรูปทรง: ขนาดและรูปทรงอาจแตกต่างกันไปตามบุคคล บางรายอาจมีขนาดใหญ่และกระจายไปทั่วใบหน้า
ปานโอตะ (Nevus of Ota) เป็นปานแต่กำเนิดชนิดหนึ่ง...
โรคแบคทีเรียกินเนื้อ คืออะไร
โรคแบคทีเรียกินเนื้อ หรือที่เรียกว่า "เนื้อเน่า" (Necrotizing fasciitis) เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรงและเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว สามารถทำลายเนื้อเยื่อที่อยู่ลึกในผิวหนังได้ หากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที โรคนี้อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคนี้รวมถึง:
Group A Streptococcus (GAS)
Clostridium
E. coli
Staphylococcus aureus
อาการของโรคแบคทีเรียกินเนื้อรวมถึง:
ปวดอย่างรุนแรงและรวดเร็วในบริเวณที่ติดเชื้อ
ผิวหนังที่ติดเชื้ออาจบวม แดง และร้อน
อาการบวมโตของเนื้อเยื่อ
การเกิดตุ่มน้ำใสที่ผิวหนัง
...