“RSV”ไวรัสตัวร้าย

“RSV”ไวรัสตัวร้าย ป้องกันได้ถ้าไม่อยากให้ลูกป่วย (RespiratorySyncytial Virus)

0
“RSV” ไวรัสตัวร้าย ป้องกันได้ถ้าไม่อยากให้ลูกป่วย (Respiratory Syncytial Virus) สำหรับคนเป็นพ่อเป็นแม่ ลูกคือแก้วตาดวงใจ เมื่อลูกมีอาการไม่สบายแม้เพียงเล็กน้อยก็ทำให้กังวลใจคิด ไปต่างๆ นานา แต่ถ้าเราทำความรู้จักและเข้าใจโรคให้มากขึ้น รู้อาการ รู้แนวทางป้องกันรักษาก็น่าจะทำให้คลาย ความกังวลลงได้ บทความตอนนี้ พญ.สิริรักษ์ กาญจนธีระพงค์ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคภูมิแพ้และ ภูมิคุ้มกัน วิทยา โรงพยาบาลนวเวช จึงได้นำความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจที่มัก เกิดกับเด็กเล็กมา ให้คุณพ่อคุณแม่ได้รู้จัก ซึ่งหลายคนก็อาจสับสนระหว่าง RSV ไข้หวัดใหญ่ และไข้หวัดธรรมดา คุณหมอก็เลยมี ข้อมูลมาให้เปรียบเทียบด้วยว่าแต่ละโรคมีความแตกต่างกันอย่างไร RSV เชื้อไวรัสระบบทางเดินหายใจในเด็ก เชื้อไวรัส RSV สามารถติดต่อกันผ่านสารคัดหลั่ง น้ำมูก...
ริดสีดวงทวาร อันตรายช่วง Work from home

ริดสีดวงทวาร อันตรายช่วง Work from home

0
ริดสีดวงทวาร อันตรายช่วง Work from home รู้ไหมว่า พฤติกรรมยอดฮิตหลายอย่างของชาวออฟฟิศช่วง Work from home อาจทำให้เสี่ยงโรคริดสีดวงทวาร ไม่ว่าจะเป็นนั่งทำงานนานติดต่อกันหลายชั่วโมง งานไม่เสร็จไม่ยอมลุก ไม่มีเวลาสำหรับการออกกำลังกาย มีความเครียดสูง อาจส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อการเป็นริดสีดวงทวาร รวมไปถึงชอบทานแต่เนื้อสัตว์ที่ย่อยยาก กากใยไฟเบอร์น้อย ไม่ค่อยได้ทานผักผลไม้ ดื่มน้ำน้อย หรือดื่มชากาแฟแทนน้ำเปล่า จนทำให้ท้องผูกหรือเบ่งถ่ายบ่อย ล้วนแต่เพิ่มความเสี่ยงที่เส้นเลือดดำทวารหนักหรือส่วนปลายสุดของลำไส้ใหญ่เกิดอาการพองหรือยืดตัว มีอาการยื่นนูนเป็นติ่งออกมาจากทวารหนัก กลายเป็นริดสีดวงทวารหนักนั่นเอง แม้ริดสีดวงจะไม่ใช่โรคร้ายแรงแต่ก็อาจลดทอนความสุขในการทำงาน และอาจเสี่ยงริดสีดวงแตกได้...
ป๊อกผ่าตัดสมอง

ป๊อก เผย นาทีตรวจเจอเนื้องอกในสมอง ต้องผ่าตัดด่วน

0
ป๊อก เผย นาทีตรวจเจอเนื้องอกในสมอง ต้องผ่าตัดด่วน ทำเอาหลายคนตกใจไม่น้อย หลัง ป๊อก-ภัสสรกรณ์ จิราธิวัฒน์ สามีของ มาร์กี้ ราศรี ได้ออกมาเปิดเผยว่าเหตุที่ต้องเข้าโรงพยาบาล เนื่องจากตรวจเจอเนื้องอกในสมองขนาดเท่าลูกเทนนิสและต้องได้รับการผ่าตัดอย่างเร่งด่วน โดย ป๊อก ได้เปิดใจผ่าน รายการ ป๊อกกี้ on the run SS4 ถึงเรื่องราวหลังมีภาพของการนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาล พร้อมกับบอกว่าเข้ารับการผ่าตัดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายนที่ผ่านมา "เป็นเรื่องที่ช็อกสำหรับครอบครัว ไม่เคยนึกเลยว่าจะเกิดขึ้นเราเร็วขนาดนี้ ก่อนหน้านี้ผมมีอาการปวดหัว พยายามหาคำตอบกับสิ่งนี้มาเป็นระยะเวลากว่าหนึ่งเดือน ไปหาหมอมาหลายที่มาก หูอื้อพร้อมกันสองข้าง ก็ไปหาหมอหูตาคอจมูก ตอนนั้นผลทุกอย่างเป็นปกติ แต่อาการเริ่มหนักขึ้นเรื่อยๆ...
รังสียูวี

รังสียูวีก็ทำร้ายผิวได้ แม้จะเวิร์คฟอรมโฮม (WFH)

0
เมื่อชีวิตประจำวันของคนส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ตั้งแต่ตื่นเช้าจนถึงเข้านอนวนลูบไปมากับ “การอยู่บ้าน และ เวิร์คฟอรมโฮม” เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้การเดินทางไปที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะการทำงานนอกบ้านลดน้อยลง หลาย ๆ คนอาจจะรู้สึกโล่งใจ เพราะไม่ต้องผจญกับปัญหาแสงแดดที่ทำร้ายผิว แต่รู้หรือไม่ค่ะว่าถึงแม้ทำงานอยู่ที่บ้านแต่รังสียูวีจากแสงแดดก็ยังตามมาทำร้ายจนถึงในบ้านได้ ความจริงแล้ว แม้ว่าเราจะอยู่ในบ้านหรืออาคารที่มีหลังคาและกำแพงบดบังแสงแดด รังสียูวีจากแสงแดดโดยเฉพาะรังสียูวีเอ (UVA) ที่มีมากตลอดทั้งวัน สามารถทะลุผ่านกระจกเข้ามาในบ้านและทำร้ายผิวได้ ตั้งแต่เกิดการกระตุ้นเม็ดสีเมลานินให้ทำงานมากเกินไปจนทำให้ผิวหน้าหมองคล้ำและเกิดจุดด่างดำขึ้น นอกจากนี้รังสียูวียังทำลายโครงสร้างผิวชั้นลึกและเส้นใยคอลลาเจน ทำให้ความยืดหยุ่นของผิวเสียไป เกิดริ้วรอยและความหย่อนคล้อยของใบหน้า ท้ายที่สุดยังทำให้เกิดสารอนุมูลอิสระทำลายเซลล์ผิว ทำให้ผิวแก่ก่อนวัย ยิ่งเราชะล่าใจว่าไม่ได้ออกไปไหน ยิ่งขาดการสร้างเกราะป้องกันผิวโดยเฉพาะการทาครีมกันแดด อีกทั้งการทำงานที่บ้าน...
มะเร็งตับ

มะเร็งตับ ดับชีวิตคนไทย 73 รายต่อวัน พุ่งสูงกว่าโควิด 26 เท่า/ปี แพทย์วอนทุกภาคส่วนปลดล็อกมาตรฐานการรักษาผู้ป่วย

0
ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 เป็นวิกฤตสุขภาพที่ผู้คนทั่วโลกรวมถึงชาวไทยตื่นกลัวและให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องด้วยตัวเลขผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้นทุกวัน ทว่าอีกหนึ่งวิกฤตสุขภาพที่     ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อชีวิตคนไทยและเศรษฐกิจของประเทศมานานอย่างต่อเนื่อง คือ โรคมะเร็งตับ ซึ่งถือเป็นปัญหาสุขภาพระดับชาติที่คร่าชีวิตชายไทยเป็นอันดับ 1 และหญิงไทยเป็นอันดับ 2 อีกทั้ง ประเทศไทยยังติดอันดับ 5 ของโลกที่พบผู้ป่วยมะเร็งตับสูงสุด โดยมีอัตราของการพบผู้ป่วยมะเร็งตับอยู่ที่ 21 รายต่อประชากร 100,000 คน จากความร้ายแรงของวิกฤตสุขภาพทั้งสองโรค เมื่อนำมาเปรียบเทียบกันจะพบว่า ตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา (1 มิถุนายน 2563 - 1 มิถุนายน 2564) ตัวเลขผู้ติดเชื้อใหม่จากไวรัสโควิด-19 อยู่ที่ 156,370 ราย และมีตัวเลขผู้เสียชีวิตที่ 1,012 ราย ในขณะที่ปี 2563 เพียงปีเดียว พบว่าตัวเลขผู้ป่วยมะเร็งตับรายใหม่อยู่ที่ 27,394 ราย แต่ทว่าตัวเลขผู้เสียชีวิตจากมะเร็งตับกลับอยู่ที่ 26,704 คน หรือคิดเป็น 73 คนต่อวัน โดยเฉลี่ย ซึ่งนับได้ว่าสูงกว่าโควิด-19 ถึง 26 เท่าตัว ทั้งนี้...
4 อาการเตือน ภาวะหัวใจขาดเลือด

4 อาการเตือน ภาวะหัวใจขาดเลือด

0
4 อาการเตือน ภาวะหัวใจขาดเลือด รู้ไว ปลอดภัยกว่า โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ หรือ โรคหลอดเลือดหัวใจเกิดจากการไหลเวียนเลือดไปสู่หัวใจที่น้อยลง ทำให้เลือดหล่อเลี้ยงหัวใจได้ไม่เพียงพอซึ่งอาจนำไปสู่ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดโดยทั่วไป มักจะปรากฏอาการเตือน 4 อย่างนี้ - เจ็บหน้าอก แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก - อ่อนเพลีย ไม่มีแรง เหนื่อยง่าย - ใจสั่น (อาจมีอาการเหงื่อแตกร่วมด้วย) - วูบ หมดสติ หัวใจหยุดเต้น ทั้งนี้ อาการเหล่านี้ เป็นเพียงแนวทางในการสังเกตเบื้องต้นเท่านั้น ไม่ได้แปลว่า ถ้ามีอาการเหล่านี้ จะต้องเป็น โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ หรือโรคหลอดเลือดหัวใจ สำหรับผู้ที่ไม่แน่ใจ...
โรคประจำถิ่น

ทำความรู้จัก โรคประจำถิ่น

0
Endemic (โรคประจำถิ่น) คือ โรคที่เกิดขึ้นประจำในพื้นที่นั้น กล่าวคือมีอัตราป่วยคงที่และสามารถคาดการณ์ได้ โดยขอบเขตของพื้นที่อาจเป็นเมือง ประเทศ หรือใหญ่กว่านั้นอย่างกลุ่มประเทศ หรือทวีป เช่น ไข้เลือดออกในประเทศไทย โรคมาลาเรียในทวีปแอฟริกา โรคประจำถิ่นในประเทศใดว่าต้องพิจารณาจากปัจจัยดังนี้ 1) เชื้อลดความรุนแรง (ปัจจุบันความรุนแรง อัตราป่วยตายโรคโควิด 19 ลดลงเหลือ เสียชีวิต ~ 1 ราย จากผู้ติดเชื้อ 1,000 ราย) 2)...
โรคที่มากับอากาศร้อนมีอะไรบ้าง

โรคที่มากับอากาศร้อนมีอะไรบ้าง

0
อากาศที่ร้อนขึ้นทำให้โรคที่มากับอากาศร้อนที่เราไม่ควรมองข้ามกันนั้น มีอะไรบ้าง วันนี้ Bkkhealthcare จะมาแนะนำว่ามีโรคใดบ้างที่มากับอากาศร้อนกันค่ะ ในอากาศร้อนหรือสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ๆ อาจเกิดหลายโรคหรือสภาวะที่เกี่ยวข้อง ดังนี้: โรคลมร้อน (Heatstroke): เกิดจากอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนระบบควบคุมอุณหภูมิร่างกายล้มเหลว อาการของโรคลมร้อน ได้แก่ อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย สับสน ชัก หรือหมดสติ โรคลมชัก (Heat cramps): เกิดจากการสูญเสียน้ำและเกลือแร่ในร่างกายจากการเหงื่อออกมาก ทำให้กล้ามเนื้อเกิดข้อเข่างอ...
ปานโอตะ คืออะไร

ปานโอตะ คืออะไร

0
"ปานโอตะ" (Ota Nevus) หรือที่รู้จักในชื่อ "ปานสีน้ำตาลหรือดำบนผิวหนัง" เป็นหนึ่งในรูปแบบของปานที่มักพบบนผิวหนังของบุคคลที่มีเชื้อสายเอเชียหรือแอฟริกัน ปานโอตะมักปรากฏในรูปแบบของจุดหรือเป็นบริเวณที่มีสีเข้มกว่าสีผิวปกติ และมักพบบริเวณใบหน้าหรือส่วนอื่นๆ ของร่างกาย ลักษณะของปานโอตะ: สี: โดยทั่วไปจะมีสีน้ำตาลอ่อนไปจนถึงน้ำตาลเข้มหรือดำ ตำแหน่ง: มักปรากฏบนใบหน้า โดยเฉพาะบริเวณแก้ม หน้าผาก หรือรอบดวงตา แต่อาจพบได้ที่ส่วนอื่นของร่างกาย ขนาดและรูปทรง: ขนาดและรูปทรงอาจแตกต่างกันไปตามบุคคล บางรายอาจมีขนาดใหญ่และกระจายไปทั่วใบหน้า ปานโอตะ (Nevus of Ota) เป็นปานแต่กำเนิดชนิดหนึ่ง...
โรคแบคทีเรียกินเนื้อ คืออะไร

โรคแบคทีเรียกินเนื้อ คืออะไร

0
โรคแบคทีเรียกินเนื้อ หรือที่เรียกว่า "เนื้อเน่า" (Necrotizing fasciitis) เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียที่รุนแรงและเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว สามารถทำลายเนื้อเยื่อที่อยู่ลึกในผิวหนังได้ หากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที โรคนี้อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคนี้รวมถึง: Group A Streptococcus (GAS) Clostridium E. coli Staphylococcus aureus อาการของโรคแบคทีเรียกินเนื้อรวมถึง: ปวดอย่างรุนแรงและรวดเร็วในบริเวณที่ติดเชื้อ ผิวหนังที่ติดเชื้ออาจบวม แดง และร้อน อาการบวมโตของเนื้อเยื่อ การเกิดตุ่มน้ำใสที่ผิวหนัง ...

Recent Posts