หมดปัญหา Office Syndrome แก้ไขง่าย ๆ ด้วยเก้าอี้สุขภาพ
หมดปัญหา Office Syndrome แก้ไขง่าย ๆ ด้วยเก้าอี้สุขภาพ
มนุษย์เรากว่าครึ่งชีวิตหมดเวลาไปกับการนั่งทำงานที่เก้าอี้ในออฟฟิศ และปัญหาสุขภาพที่เหล่ามนุษย์เงินเดือนกำลังทรมานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นั่นคือ โรค OfficeSyndrome ที่แต่ละวันคุณต้องจดจ่ออยู่หน้าคอมวันละมากกว่า 8 ชั่วโมง ทั้งความเครียดและการนั่งด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้อง ท้ายที่สุดอาการปวดหลัง ปวดคอก็ตามมาจนกลายเป็นอาการเรื้อรัง แต่คุณรู้หรือไม่ว่า ปัญหานี้สามารถแก้ไขได้ง่าย ๆ ด้วยเก้าอี้สุขภาพ
OfficeSyndrome อาการของคนออฟฟิศ เกิดมาจากรูปแบบของการทำงานที่ต้องใช้มัดกล้ามเนื้อเดิม ๆ ซ้ำ...
ความหมาย เท้าแบน (Flat Feet) เป็นยังไง
ความหมาย เท้าแบน
เท้า แบน (Flat Feet) คือ ลักษณะของเท้าที่ไม่มีส่วนโค้งเว้าตรงกลางเท้า เมื่อลุกขึ้นยืน ฝ่าเท้าจะราบแนบไปกับพื้นทั้งหมด ตรงกลางฝ่าเท้าที่โค้งขึ้นมานั้นคืออุ้งเท้า (Arch) ซึ่งทอดไปตามแนวยาวและแนวขวางของฝ่าเท้า อุ้งเท้าเกิดจากการยึดกันระหว่างเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ และกระดูกเท้า โดยเส้นเอ็นที่เท้าเองและเส้นเอ็นส่วนที่ต่อจากขาส่วนล่างจะยึดกระดูกตรงกลางเท้าเข้ากับส้นเท้า ทำให้กลางฝ่าเท้าโค้งเข้ามาและไม่ราบไปกับพื้น ภาวะเท้าที่แบนเกิดขึ้นได้เมื่อเป็นเด็กเล็ก เนื่องจากฝ่าเท้าของเด็กมีไขมันและเนื้อเยื่ออ่อน ทำให้มองเห็นอุ้งเท้าตรงฝ่าเท้าได้ไม่ชัด แต่เมื่อโตขึ้นช่องโค้งก็จะค่อย ๆ ปรากฏขึ้นมา บางคนอาจได้รับการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวมาทางพันธุกรรม...
ปวดส้นเท้า อาการยอดฮิตของนักวิ่ง เป็นแล้วมีโอกาสหายขาดหรือไม่
ปวดส้นเท้า อาการยอดฮิตของนักวิ่ง เป็นแล้วมีโอกาสหายขาดหรือไม่
อาการปวดที่ส้นเท้าเป็นอาการที่พบได้ทั้งในนักวิ่งหน้าใหม่และหน้าเก่า จากการวิ่งอย่างหักโหมและไม่ถูกวิธี ซึ่งคุณจะมีอาการปวดและกดเจ็บบริเวณส้นเท้า หรือแค่ลุกเดิน 2 – 3 ก้าวก็เจ็บแล้ว โดยเฉพาะก้าวแรกหลังตื่นนอนตอนเช้า ใครจะรู้ว่าอาการดังกล่าว อาจเป็นสัญญาณเตือนว่าคุณกำลังจะเป็น “โรครองช้ำ” อยู่ก็ได้ค่ะ แน่นอนว่าอาการเจ็บส้นเท้า คงไม่มีนักวิ่งคนไหนที่อยากเป็น เพราะว่าหากเมื่อเป็นแล้วจะต้องใช้ระยะเวลารักษานานพอตัว ถึงจะหายเจ็บ หลายคนคงสงสัยว่าแล้วอาการปวดที่ส้นเท้าแบบนี้ จะมีโอกาสหายขาดหรือเปล่านะ เราจะพาไปหาคำตอบกันค่ะ
รองช้ำ ถือว่าเป็นอาการยอดฮิตของนักวิ่งซึ่งพบได้บ่อยมาก โดยอาการเจ็บรองช้ำนั้นเป็นการอักเสบของแผ่นเส้นเอ็นฝ่าเท้าที่ยึดระหว่างกระดูกส้นเท้าไปยังปลายเท้า...
เลือกแบบไหนดี กับ เก้าอี้แก้ปวดหลัง ช่วยถนอมสุขภาพ
เลือกแบบไหนดี กับ เก้าอี้แก้ปวดหลัง ช่วยถนอมสุขภาพ
มีหรือยังคะ กับเก้าอี้คู่ใจที่จะสามารถแก้อาการปวดหลังได้ หลายคนอาจจะบอกว่ามีแต่เก้าอี้คู่กรรมค่ะ ที่นั่งแล้วปวดหลังร้าวไปถึงคอและหัวไหล่ แบบนั้นก็แย่น่ะสิคะ ไหนใครอยากได้เก้าอี้แก้ปวดเมื่อยปวดหลัง ยกมือขึ้น ถ้าอยากได้ เราจะมาแนะนำการเลือกเก้าอี้แก้ปวดเมื่อยปวดหลัง เพื่อช่วยถนอมสุขภาพ แล้วชีวิตของคุณจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป เพราะอาการปวดหลังกะปอดกะแปดจะหายไป ราวกับไม่เคยมีอะไรเกิดขึ้น
เลือกความสูงที่เหมาะสมกับร่างกาย
การที่เราจะเลือกความสูงของเก้าอี้ได้ เราก็ต้องรู้ว่าสรีระเราเป็นแบบใด สูงเท่าไหร่ ขายาวแค่ไหน ช่วงเอวหรือน้ำหนักเท่าไหร่ พื่อให้รู้ว่าเก้าอี้ควรอยู่ในระดับไหน นั่นหมายความว่าเพื่อความชัวร์ควรเลือกเก้าอี้ที่สามารถปรับระดับสูง-ต่ำได้ตามต้องการ โดยปรับให้อยู่ในระดับที่มือเท้าโต๊ะได้ไม่ลำบาก ขณะเดียวกัน ขาควรตั้งฉากกับพื้น...
10 เก้าอี้ทำงานนั่งสบาย ไม่ปวดหลัง
10 เก้าอี้ทำงานนั่งสบาย ไม่ปวดหลัง
จะว่าไปเหล่ามนุษย์วัยทำงานต้องแบกภาระอาการปวดหลัง จากการนั่งทำงานเป็นเวลาหลายชั่วโมงต่อวัน พออาการสะสมไปมาก ๆ เข้า ก็กลายเป็นเรื้อรังหรือเกิดโรคออฟฟิศซินโดรม ที่มาสร้างความทรมานและรำคาญใจ ทำงานได้ไม่สมู้ทอย่างที่ควรจะเป็น เนื่องจากอุปกรณ์ทำงานอย่างเก้าอี้ไม่รองรับสรีระที่มากพอ ดังนั้นเราจึงได้รวบรวม 10 เก้าอี้ทำงานที่นั่งสบาย ไม่ปวดหลัง ใครสนใจ ตามไปดูพร้อมกันเลยค่ะ
Modernform Series 16 ราคา 4,900...
หน้าเท้ากับการเลือกรองเท้าสำคัญอย่างไร
หน้าเท้ากับการเลือกรองเท้าสำคัญอย่างไร
เคยเป็นไหมคะเวลาไปซื้อรองเท้า ตอนลองก็ใส่สบายดี แต่ทำไมพอกลับบ้านมาใช้งานจริง กลับรู้สึกเจ็บระบมที่เท้าบ้าง ใส่ไม่สบายบ้าง โดยเฉพาะพวกรองเท้ากีฬาอย่างร้องเท้าวิ่ง เรียกว่าเจ้าปัญหาก็ว่าได้ ใส่แล้วรู้สึกแน่นไป เจ็บนิ้วเท้า หรือแม้แต่การเริ่มวิ่งสัก 20 – 30 นาทีก็ได้เรื่องแล้ว นั่นเป็นเพราะเราเลือกรองเท้าที่ไม่เหมาะกับรูปเท้าของเรานั่นเองค่ะ โดยเฉพาะในส่วนของหน้าเท้า ที่หลาย ๆ คนนึกไม่ถึง เราจะมาดูกันว่าหน้าเท้ากับการเลือกใส่รองเท้านั้นสำคัญอย่างไรบ้าง
โดยทั่วไปในการเลือกใส่รองเท้าเราจะดูที่ไซซ์ความยาวของเท้าเป็นหลักใช่ไหมคะ แต่จริง ๆ แล้วนั่นเป็นแค่ส่วนหนึ่งในการเลือก ซึ่งหลายครั้งเราก็มักมีปัญหาว่าซื้อไซซ์เดียวกันแต่ทำไมขนาดถึงมีความต่างกัน...
แนะวิธีเช็ก ชุดตรวจ antigen test kit ที่ผ่านการตรวจสอบจาก อย.
แนะวิธีเช็ก ชุดตรวจ antigen test kit ที่ผ่านการตรวจสอบจาก อย.
ปัจจุบันสถานการณ์โควิดยังคงวิกฤต ยอดผู้ติดเชื้อทะยานขึ้นอย่างไม่มีทีท่าจะหยุด ส่งผลให้หลายคน รอบตัว ทยอยกันแจ้งผลให้เห็นไม่เว้นแต่ละวัน ยิ่งระยะนี้สภาพอากาศก็มีความแปรปรวน เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ บางคนไอ บางคนเจ็บคอ บางคนมีไข้ ใกล้เคียงกับอาการโควิด ในขณะที่บางคนอาจจะไม่มีอาการใด ๆ เลยก็ได้ ทำเอาคนที่ยังรอดถึงกับร้อน ๆ หนาว...
เจ็บอุ้งเท้าบ่อย อย่าชะล่าใจ เสี่ยงเป็น “ โรคเท้าแบน ” แบบไม่รู้ตัว !
เจ็บอุ้งเท้าบ่อย อย่าชะล่าใจ เสี่ยงเป็น “ โรคเท้าแบน ” แบบไม่รู้ตัว !
หากเพื่อนๆ ท่านใดที่รู้สึกเจ็บอุ้งเท้าบ่อยๆ หรือรู้สึกว่ารองเท้าที่สวมใส่อยู่ทุกวันนั้น ทำไมมันชำรุด ผุพังง่ายจังเลย ทั้งๆ ที่ไม่ได้ไปลุยสมบุกสมบันที่ใดมา ทางเราขอแนะนำว่า ให้คุณลองไปพบแพทย์เพื่อตรวจดูอาการเหล่านี้ซะนะคะ เพราะคุณอาจเสี่ยงเป็นโรคเท้าแบนแบบไม่รู้ตัว และหากคุณยังชะล่าใจ ไม่ยอมไปตรวจ และใช้ชีวิตต่อไปเรื่อยๆ สุดท้าย เจ้าโรคนี้อาจทำให้คุณไม่สามารถใช้ชีวิตเหมือนเดิมได้อีกต่อไป
แต่หากใครที่ยัง งงๆ ไม่คุ้นหูกับชื่อโรคนี้...
ผู้ป่าวโรคเบาหวาน กับ การดูแลเท้า และการเลือกรองเท้า
โรคเบาหวาน กับ การดูแลเท้า โรคเบาหวาน
มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าสูงเนื่องจากมีการเสื่อมของหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดตีบแคบเลือดไปเลี้ยงบริเวณเท้าน้อยลง รวมทั้งมีการเสื่อมของเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงยังเท้า แผลที่เท้าจากเบาหวาน เป็นอาการบาดเจ็บที่นำไปสู่การตัดขาที่พบมากที่สุด การป้องกันและให้การวินิจฉัยตั้งแต่แรกมีความสำคัญมาก การดูแลในผู้ป่วยเบาหวานต้องใช้องค์ความรู้ที่ครบถ้วน ครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงหลัก ๆ ที่นำไปสู่การตัดอวัยวะ
ปัจจัยเสี่ยงที่ ทำให้ต้องตัดขา ประกอบด้วย
1. ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral neuropathy)
ความบกพร่องหรือสูญเสียระบบรับความรู้สึก
ภาวะเลือดไปเลี้ยงไม่พอ
ความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ ก่อให้หลั่งเหงื่อน้อยลง ผิวแห้ง แตกเป็นร่อง
ภาวะอ้วน
ความบกพร่องด้านการมองเห็น
ภาวะบกพร่องในการควบคุมน้ำตาลในเลือด
2. โครงสร้างของเท้าผิดปกติ
เท้าผิดรูปและการเกิดปุ่มกระดูกงอก อันเป็นผลมาจากถูกกดเป็นเวลานาน
จำกัดการเคลื่อนไหวของข้อ
3. การเกิดแผลที่เท้า
มีประวัติเป็นแผลที่เท้า...
ผู้ป่วยเบาหวาน มีความจำเป็นที่จะต้องใส่รองเท้าเบาหวานมากแค่ไหน ????
ผู้ป่วยเบาหวาน มีความจำเป็นที่จะต้องใส่รองเท้าเบาหวานมากแค่ไหน ????
➡️ เราจะแบ่งตามความเสี่ยง ของการสูญเสียความรู้สึกที่เท้า, เท้าผิดรูป ปัญหาของหลอดเลือด ประวัติการมีแผลที่เท้า ตามการประเมินดังตาราง IWDGF classification
??ถ้าระดับ 0. ปกติ ตรงนี้เรายังให้ถือปฏิบัติในการใส่รองเท้าปกติ
??ระดับ ที่ 1 มีปัญหาด้านความรู้สึกที่เท้า สำหรับ รองเท้าขอให้ เหมาะสม มีแผ่นรองช่วยกระจายน้ำหนัก
??ระดับที่ 2 สูญเสียความรู้สึก มีเท้าผิดรูป...